วันพุธที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2558

แหล่งท่องเที่ยว เมืองมะริด ประเทศพม่า ที่กิน ที่เที่ยว ที่พักข้อมูลภาค ภาษาอังกฤษ จาก WiKi Travel Myeik Myanmar จองทัวร์ มะริด ประเทศพม่า 098-0641749

ข้อมูลภาค ภาษาอังกฤษ จาก  WiKi Travel

 http://wikitravel.org/en/Myeik#Do

Myeik  Myanmar

UnderstandGet inGet aroundSeeDoBuyEatSleep
Myeik (Mergui) is a city in Tanintharyi Division in Southeastern Myanmar.
Understand

Myeik was the southernmost part of the Pagan Kingdom between the 11th and 13th centuries. After the Pagan Empire's collapse in 1287, Myeik became part of successive Thai kingdoms from the late 13th century to the middle of 18th century: first the Sukhothai Kingdom and later the Ayutthaya Kingdom. A brief period of Bamar rule interrupted this between 1564-93.

From the 16th century on, the city was an important seaport and trading center with the Europeans, who would land at Myeik (then called Mergui), travel upriver to Tanintharyi (Tenasserim) and then cross the mountains to reach Ayutthaya. The French officer Chevalier de Beauregard was made Governor of the city of Myeik after the Siam-England war (1687) that resulted in the English being expelled from Siam.[4] De Beauregard was named Governor by Narai, the king of the Ayutthaya Kingdom, replacing an Englishman, Samuel White.[5] The French were then expelled from Myeik following the Siamese revolution of 1688.

The Burmese captured Myeik in 1765 as part of an invasion that would ultimately topple the Ayutthaya kingdom in 1767. In 1826, the Burmese ceded the region to the British after the First Anglo-Burmese War (1824–1826).


Mergui was the name given by the British to the southernmost part of Burma. The Mergui archipelago was off-limits to foreigners until 1997; although it is now open for tourism, access is limited as permits are necessary. Therefore it remains largely unexplored.
“Beik” as the locals call their home inhabitants around 300.000 people. It has been a significant port town for centuries. First were people from India to trade with Myeik. Portuguese traders followed later in the 16th century. The town itself was for centuries under the rule of the Kingdom of Siam (Thailand). The Burmese King Alaungpaya reconquered Myeik in the late 18th century. It has been under British rule from 1826 to 1948.
Despite having no beaches Myeik is not lacking with charm. The Thein Daw Gyi Pagoda right in the middle of town offers a splendid panoramic view over the town and the islands. Walking along the streets and can be like on a farm as many goats, chicken, even cows, dogs and cats roaming around. The main attraction however will be you. Myeik has been cut off from the rest of Myanmar for very long time. Overland travel, which is now possible for tourist was prohibited and only possible with special permit.
The city is prime for tourist development. It sits on the shore of the sea compare to Dawei, which is inland. Access to many islands is also possible. Ask immigration staff at the main pier for help in terms of getting a fisherman to get you somewhere to the near islands. The closer islands nearby Myeik have no great beaches as mud and sentiments from the rivers been spilled ashore. However the mangroves are great for bird watching.
The government is trying to put Infrastructure in place on Kadan Island together with a big investor. This development is in great need as the best beaches and dives spots of Archipelago are far away from Myeik. Special licensed boats and permits are needed to go for multiple day excursions.
Get in

By bus
The road to Dawei is now open for foreigners. The bus costs about MYK8,000 and it takes 10 hours for the 200km.
There is also a local bus between Myeik and Kawthoung. Travel agencies charge foreigners MYK20,000 and the whole trip takes about 24 hours without delays. Expect an extremely uncomfortable ride in an old, small, heavily packed bus with 40 seats and 90 passengers. The "road" between Myeik and Kawthoung is actually a long and bumpy dirt track. Especially during the rainy season it is likely that the vehicle gets stuck in the mud. Engine problems and collapsed bridges can cause further delays.
By plane
Myanma Airways has daily flights, and Air Bagan has 3 flights per week, from Yangon. Myanma Airways flights (typically once a week) from Mawlamyine and Kawthoung may also be available - check locally at the local Myanma Airways office.
Air KBZ has daily flights during the tourist high season (beginning October to end of April) which fly from Yangon to Kawthoung (and return) stopping in Dawei and Myeik. Prices for the Myeik to Kawthoung leg start at around USD50.
Flights may be cancelled with little or no advance notice, due to lack of bookings, the weather, or any number of other unpredictable circumstances.
By boat
Fast ferries run daily to/from Kawthoung (c. 6 hours, USD25-45 for foreigners) and most days to/from Dawei to the north (c. 4 hours, USD20-25 for foreigners). Ferries to Kawthoung depart around 07:30 while ferries to Dawei depart around 10:30 or so.
Five Star Line passenger ships may call here (approximately fortnightly) en route from Kawthoung to Yangon and/or vice-versa. Five Star Line have an office opposite the main piers. Foreigners must pay very high prices (c. USD100+) but the first-class 2-berth cabins are quite comfortable.
Get around

On foot, or by motorcycle-taxi or cycle rickshaw.
Longtail boats operate as ferries across the harbour.


Big reclining Buddha (on the island across the harbour).
Lobster farming.
Loading of the fishing boats in the harbour.

Please dress modestly (cover shoulders, knees etc) especially in temples and pagodas.
Kala and Kadan Islands. Immirgration are starting to permit day trips to kala and Kadan Islands on a case by case, arrive at the jetty and ask politely.

Ask a fisherman to take you to an island for the day. It is not prohibited for foreigners and no special permit is required (as is sometimes written on the internet). The trip will bring you to the nearby islands, which still in the murky mangrove waters of Myeik. Great white sandy beaches you won't find close to Myeik. This day trip shows the beauty of the mangroves and the life of the fishermen. Please dress with commonsense.
Life Seeing Tours - Southern Myanmar is the first proper travel agency in Myeik, which is doing trips to the Mergui Archipelago ranging from one to several days. They are not a live aboard company. Overnight trips will be home stays to benefit the small fishing communities and camping on secluded beaches. Their prices of the boat is shared among the people on the boat max 6 pax. They are a way cheaper then the life aboard cruises from Kawthaung. There office is located in the lobby of Hotel Grand Jade (28-30 Baho Street) about 5-10 min walk from the main jetty near the main market and the clock tower.


There is a food market by the waterfront in the evening.
There are numerous small establishments with good food.
Yadanar Oo Restaurant serves excellent Chinese and Thai cuisine at prices of MYK5,000-9,000 per dish.
Goody Cafe at the northern end of the Strand Rd. has passable coffee and decent snacks and small meals. An outlet of the YKKO Restaurant chain is soon to open next door
Shwe Yar Su. It is a fairly big resto-bar on the road next to the sea. It is the place for locals to grab a couple of beers or whisky, and they serve excellent grilled fish, which you can choose of an ice bin with the price tag on it.  edit
Lotus. Good thai food. In front of the new hospital, on the road to the airport if you leave from city centre. Better go by mototaxi.

Sky dining Lounge of Hotel Grand Jade (28-30 Baho Street) has a bar with a superb view over Myeik. It is about 5-10 Minutes walking from the main jetty near the main market and the clock tower. You can go there for sunset and have an ice cold Myanmar for 2000 Kyats. They have a wide cocktail menu starting from 2500 Kyats for alcoholic cocktails, Mai Tai, Tequila Sunrise, Singapore Sling you name.
Sleep[edit][add listing]

Budget
There are several ultra-basic "guesthouses" in the area around the main piers, a few of which accept foreigners. Often, conditions are grim and prices for foreigners are astronomical.
White Pearl Guesthouse, Middle Strand Road, Talking Zu Quarter, ☎ 09252888812. (April 2015) Very newly opened guesthouse, friendly staff, but not too much English spoken here. Clean rooms, clean facilities, definitely good for the price! fan: single 11$, double 16$.  edit
Mid-range[edit]
There are a couple of state run hotels.
There is a very comfortable Western-operated (French) hotel a couple of km out of town on the main road heading north-east; prices here are reasonable.
Dolphin Guest House is on the main road from the airport. USD25 single room, USD40 large double room. Clean, breakfast included and relatively fast Wi-Fi (reception in room above dining area is best). Manual motor bikes can be rented here for c. MYK10,000 per day (09:00-18:00). Book the bike a day before - check your brakes work. Fuel c. MYK1,000/L (1L for c. 1.5h). Don't trust Google maps for roads.
The Mergui Hotel is a fair distance from the Strand Rd (tuk-tuk drivers will charge up to MYK4000 to get there) but is one of the nicer hotels in town and close to the airport (free shuttle service). It has fast Wi-Fi, a range of satellite channels and perfectly acceptable rooms. Prices start at USD40.
Mid to Upper-range[edit]
Hotel Grand Jade is located in the heart of the town about 5 - 10 minutes from the water front. It seems to be the newest in town. Price for double rooms start from 50 USD, for 60 USD you can get sea view. Free Wifi, Buffet Breakfast on the rooftop overlooking the whole city. They have a free airport pick up and drop off when staying with them. 0 59 42 084


จองที่พักโรงแรม GRAND JADE ที่นี่..098-0641749
www.sunitjotravel.com

วันพฤหัสบดีที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2558

เที่ยวเมืองมะริด ทวาย ตะนาวศรี ประเทศพม่า แบบมืออาชีพ ต้องที่นี่ We are Land operator sunitjo travel booking tour 098-0641749


We are Land operator sunitjo travel booking tour 098-0641749
We are the first leading specialized inbound land operator in Southern Myanmar. We have been operating in Southern Myanmar since it was first open up for foreigners in 2013. We are the ground handling agent for many travel agencies from Thailand. We provide highly skilled, energetic and experienced English, Thai, and other language speaking guides. Beside ground tours, we offer all kinds of incentive and custom tours in both Thailand and Myanmar.

Our experienced and dedicated team has extensive knowledge, and offer real value and flexibility, as well as genuine advice and first-hand experience As you browse through our pages, we sincerely hope that you will find out more about us and please feel free to contact us, as we are here to create a memorable program for you and your clients.

We are looking forward to providing you a great experience!

 sunitjo travel

ที่ตั้ง

ตะนาวศรีอยู่ด้านใต้ของประเทศพม่าหรือเมียนม่าร์มีพื้นที่ทั้งหมด 43,328 ตารางกิโลเมตร (16,729 ตารางไมล์) ทิศเหนือติดต่อรัฐมอญ ทิศตะวันออกติดต่อจังหวัดกาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร และระนอง ส่วนด้านทิศใต้และตะวันตกติดต่อกับทะเลอันดามัน
ลักษณะภูมิอากาศ
เขตตะนาวศรีมีภูมิอากาศแบบมรสุมร้อนคล้ายกับภูมิอากาศทางภาคใต้และภาคตะวันออกของประเทศไทยโดยจะมีอุณหภูมิสูงตลอดปี ฤดูแล้งจะอยู่ในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเมษายน และฝนตกชุกในช่วงฤดูมรสุมเนื่องจากได้รับอิทธิพลจากเทือกเขาตะนาวศรีทำให้มีปริมาณน้ำฝนถึง 120 – 200 นิ้วต่อปีหรือ 1,300 มิลลิเมตรต่อเดือน จนได้ชื่อว่าฝนตกมากเป็นที่สามของโลก
ประวัติศาสตร์
เนื่องจากทวาย มะริด และตะนาวศรีถือเป็นเมืองท่าสำคัญบนทะเลอันดามันตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 13 และเป็นเมืองหน้าด่านของการศึกสงครามระหว่างไทยกับพม่านับแต่โบราณกาล ตลอดช่วงประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาทั้งไทยและพม่าได้ผลัดกันเข้าครอบครองดินแดนแห่งนี้เรื่อยมา ตะนาวศรีปรากฏตัวและมีฐานะเป็นรัฐอิสระก่อนการเกิดอาณาจักรพะโค เมาะตะมะ อังวะ สุโขทัยและอยุธยาและเมืองเหล่านี้มีความสำคัญอย่างมากมาตั้งแต่ยุคสุโขทัยเนื่องจากเป็นเมืองที่พ่อค้าต่างประเทศทางอินเดียและยุโรปนำสินค้าจากทางเรือขึ้นมาขายในเมืองไทย สินค้าหายากที่ถูกนำมาสู่สยามได้แก่ พรมเปอร์เซีย ม้าพันธุ์เปอร์เซีย หรือม้าเทศและม้าพันธ์อาหรับ เป็นต้น จนมีการแต่งตั้งเจ้าเมืองที่มีความรู้ความสามารถให้ปกครองดูแล ในปีพ.ศ. 2303 พระเจ้าอลองพญาแห่งราชวงค์คองบองได้ยกทัพมาตีเมืองทวายซึ่งขณะนั้นแข็งเมืองอยู่ และได้ยกพลตามมาตีเมืองมะริดและตะนาวศรี หลังจากนั้นในปีพ.ศ. 2330 พระบาทสมเด็กพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกแห่งกรุงรัตนโกสินท์ได้ยกทัพไปตีเมืองทวายคืนจากพม่าแต่ไม่สำเร็จ ต่อมาอังกฤษก็เข้ามายืดครองดินแดนแถบนี้และตกเป็นของพม่าที่อยู่ในบังคับของอังกฤษอย่างเป็นทางการนับแต่วันที่ 3 กรกฏาคม 2411 เป็นต้นมา

ประชากร

ประชากรของเขตตะนาวศรีมี 1.2 ล้านคน และมีหลากหลายชาติพันธ์ เช่น ชาวมอญ ชาวกะเหรี่ยง และชาวซาโลนหรือชาวมอแกนแต่ก็มีชาวไทยสยามอาศัยอยู่ทางใต้ของเขตตะนาวศรีด้วย ช่วงก่อนปีพ.ศ. 2394 มีกลุ่มชาวไทยเชื้อสายลาวอพยพออกจากแดนไทยแถบจังหวัดราชบุรีหนืไปเมืองทวาย เมาะลำเลิง มะริด และตะนาวศรี หลังการเสียดินแดนในเขตตะนาวศรี ชาวไทยสยามที่อาศัยอยู่ในบริเวณนี้จึงกลายเป็นประชาชนชาวพม่าและต่อมาก็พบชุมชนชาวไทยแถวเกาะสองและลุ่มน้ำตะนาวศรี นอกจานั้นยังมีชาวจีนฮกเกี้ยน ไทใหญ่และชาวว้าอาศัยอยู่ในเขตนี้เช่นเดียวกัน
ศาสนาและความเชื่อ
ประชากรส่วนใหญ่ของเขตตะนาวศรีนับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเช่นเดียวกับคนพม่าทั่วไปส่วนชาวพม่าเชื้อสายมลายูนับถือศาสนาอิสลามและพบว่าชาวกะเหรี่ยงหลายคนนับถือศาสนาคริสต์อันเนื่องมาจากการเผยแผ่ของมิชชันนารีในยุคอาณานิคม ส่วนชาวซาโลนหรือชาวมอร์แกนยังคงเป็นพวกนับถือผีหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ นอกจานั้นชาวตะนาวศรียังมีความเชื่อเรื่องผีหรือนัต (Nat) เหมือนชาวพม่าทั่วไปด้วยเช่นกัน ชาวพม่าเชื่อว่านัตมีทั้งหมด 39 ตน
ภาษา

ในอดีตนั้นประชากรในเขตนี้ใช้ภาษาไทย ภาษามอญ ภาษากะเหรี่ยง และภาษามลายู ว่ากันว่าช่วงต้นศตวรรษที่ 20 นั้นประชากรส่วนใหญ่ในเขตตะนาวศรีพูดภาษาสยาม แม้นในปัจจุบันนี้ยังมีคำไทยโบราณพบเจออยู่ในภาษาพูดของชาวทวาย เช่นคำว่า ‘คลอง’ ชาวทวายพูดว่า ‘คล่อง’ และคำว่า ‘อ่าง’ ชาวทวายเรียกว่า ‘อ่า’ ปัจจุบันประชากรส่วนใหญ่ของเขตตะนาวศรีใช้ภาษาพม่าในการสื่อสารระหว่างกลุ่ม และเป็นภาษาราชการ แต่ภาษาพม่าที่พูดกันนั้นก็มีสำเนียงท้องถิ่นที่ไม่เหมือนชาวย่างกุ้งพูดแต่อย่างใด
เทศกาล

เทศกาลส่วนใหญ่ที่เฉลิมฉลองกันในเขตตะนาวศรีก็คล้ายกับเทศกาลของคนไทย เช่น เทศกาลเดือน 5 หรือ ‘สงกรานต์’ ซึ่งชาวพม่าเรียกว่าเทศกาล ‘ธิงยัน’ (Thingyan) ซึ่งตรงกับวันที่ 13-15 เมษายนของทุกปีซึ่งมีลักษณะคล้ายกับเทศกาลสงกรานต์ในเมืองไทย มีการสรงน้ำพระ เล่นสาดน้ำ และรดน้ำอบให้ผู้ใหญ่ที่เคารพนับถือ นอกจากนั้นก็มีเทศกาลออกพรรษาหรือเรียกว่า ‘ตะตินจุ๊ด’ (Thadingyut) ซึ่งตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 11 ตามปฏิทินจันทรคติ ซึ่งที่ทวาย มะริด และปะลอ (Palaw) จะมีการแห่พระพุทธรูป 28 องค์ไปรอบเมืองด้วย สำหรับชาวซาโลนหรือชาวมอร์แกนซึ่งอาศัยอยู่ตามหมู่เกาะมะริดซึ่งประกอบด้วยเกาะเล็กๆ ถึง 800 เกาะจะมีเทศกาลของตัวเองในเดือนกุมภาพันธ์ที่เกาะลัมปีหรือลาปี (Lapi) ซึ่งแปลว่า Full Moon ซึ่งจะมีการร้องรำทำเพลงและแข่งเรือ












วันพุธที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

ตั้งแต่วันที่ 27 สิงหาคม 2558 คนไทยไปพม่าโดยเครื่องบินทุกสนามบิน ไม่ต้องใช้วีซ่า มีเพียง หนังสือเดินทางก็เข้าไปเที่ยวได้เลย ส่วนหากผ่านทางด่านรถยังคงต้องใช้หนังสือเดินทาง+วีซ่าเช่นเดิม

ขอขอบคุณ ..ข้อมูลดีๆ จากมีสเตอร์ ฺฮอทเซียร์ เที่ยวสะใจ


www.sunitjotravel.com

















ตั้งแต่วันที่ 27 สิงหาคม 2558 คนไทยไปพม่าโดยเครื่องบินทุกสนามบิน ไม่ต้องใช้วีซ่า มีเพียง
หนังสือเดินทางก็เข้าไปเที่ยวได้เลย ส่วนหากผ่านทางด่านรถยังคงต้องใช้หนังสือเดินทาง+วีซ่าเช่นเดิม (ที่มา : http://goo.gl/m1P5dS)

ปัจจุบันการเดินทางไปเที่ยวด้วยพม่าด้วยการบินเข้าที่นิยมคือบินลงย่างกุ้ง มัณฑะเลย์ และการบินจากแม่สอดเข้ามะละแหม่งของนกแอร์ แต่เดิมต้องทำวีซ่าพม่าเสียค่าทำพันกว่าบาท ตั้งแต่วันที่ 27 สิงหาคม 2558 คนไทยไม่ต้องใช้ เพียงมีหนังสือเดินทางมีอายุมากกว่า 6 เดือน ก็เข้าไปท่องเที่ยวได้เลย อยู่ได้ 14 วัน ในทางกลับกันคนพม่ามาเมืองไทยทางสายการบินก็ไม่ต้องใช้วีซ่าเช่นเดียวกัน

สำหรับทางรถยังคงต้องขอวีซ่าเช่นเดิม เรามาดูการเดินทางเข้าพม่าทางรถมีด่านไหนและมีวิธีการอย่างไรบ้าง

ด่านแม่สาย: สำหรับคนจะไปเที่ยวเชียงตุง สามารถทำวีซ่าและผ่านด่านไปเที่ยวเชียงตุงได้แต่มีวิธีการต้องเตรียมเอกสารหกชุด โดยถ่ายเอกสารหน้าหนังสือเดินทาง + หน้าวีซ่าพม่า + ตราประทับด่านต.ม ท่าขี้เหล็ก (ให้อยู่ในหน้าเดียวกัน) จำนวน 6 แผ่น เพื่อยื่นกับด่านตรวจแต่ละด่าน และเมื่อถึงเชียงตุง ก็ต้องไปแจ้งที่ ต.ม เมืองเชียงตุงด้วย (ที่มา https://goo.gl/IvdgJo)

สำหรับคนไม่ใช้หนังสือเดินทางผ่านด่านท่าขี้เหล็กไปเชียงตุงต้องจ้างไกด์วันละ 1,000 บาท กรณีที่สองหากไม่ใช้หนังสือเดินทางนี้ ให้ใช้บัตรประจำตัวประชาชนไปทำบัตรผ่านไปเที่ยวพม่าซึ่งสามารถพักได้ 7 วันในพม่า แต่อยู่ได้เฉพาะท่าขี้เหล็ก จากนั้นให้เตรียมรูปถ่ายหนึ่งนิ้ว 3 รูปไปแจ้งต่อ ต.ม. พม่า เขาจะทำหนังสือผ่านทางไปเชียงตุงให้สามฉบับ การไปแบบนี้ทางการพม่าบังคับให้จ้างไกด์ไปด้วย ค่าไกด์วันละ 1000 บาท ไปเป็นกลุ่มก็ได้ แต่ไปกลุ่มใหญ่ก็ควรให้พิเศษไกด์เพิ่มบ้าง ผมแนะนำไกด์จายหลวง ดั้งเดิมคือจายหลวงแฮรี่ เบอร์โทรคุณจายหลวงเบอร์โทร 0899555059 ลูกชายจายหลวงเป็นไกด์พาผมเที่ยวชือวันชัยโทร 0837635633 ทั้งสองคนอยู่ฝั่งพม่าจะมารับเรากลางสะพาน (อ่านต่อที่ http://www.hotsia.com/burma-info/kengtung)

ด่านแม่สอดผมเคยนั่งเครื่องไปมะละแหม่งต่อไปหลังวันที่ 27 สิงหาคม 2558 บินนกแอร์ไปมะละแหม่งไม่ต้องใช้วีซ่า ส่วนด่านรถผมเคยถามเจ้าหน้าที่ว่าใช้วีซ่าเข้าและเที่ยวยาวต่อไปพะอัน มะละแหม่ง หรือต่อไปย่างกุ้งได้เลย แต่ผมยังไม่เคยแบกเป้ใช้วีซ่าผ่านด่านนี้ด้วยตัวเอง แต่มีฝั่งเคยผ่าน สามสี่คนเช่า taxi ไปพะอัน หากเห็นผมแบกเป้เข้าตรงด่านแม่สอดเมื่อไรก็ 100% (ที่มา : http://www.mrhotsia.com/2013/10/blog-post_19.html)

ด่านเจดีย์สามองค์ : เป็นด่านไม่ใช่ด่านถาวร ไปเที่ยวชั่วคราวแล้วกลับ ผมหาข้อมูลดูแล้ว ไม่สามารถแบกเป้ใช้หนังสือเดินทาง+วีซ่า ผ่านไปเที่ยวพม่าได้

ด่านถาวรบ้านน้ำพุร้อน เป็นด่านถาวรใช้หนังสือเดินทาง+วีซ่าเขาได้ไปทวายเที่ยวยาวออกทางอื่นได้ หรือทำบัตรชั่วคราวอยู่ได้แค่ทวาย

ด่านสิงขร ไม่ใช่ด่านถาวร ทำบัตรชั่วคราวไปเที่ยวมะริดอยู่ได้ 7 วัน เที่ยวออกนอกมะริดไม่ได้ ใช้หนังสือเดินทางที่มีวีซ่าพม่าไม่ได้

เกาะสองเป็นด่านถาวร ใช้หนังสือเดินทาง+วีซ่าพม่า เที่ยวยาวไปออกด่านถาวรอื่นๆ ได้ หรือบินกลับจากย่างกุ้งได้ ที่มาข้อมูลผมโทรถามพีสุนิต โจ้ เว็บ http://www.sunitjotravel.com โทร 098-0641749

เขียนโดย ฮ๊อตเซีย เที่ยวสะใจ
www.mrhotsia.com

วันอาทิตย์ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

Sunitjo Travel พาเที่ยวเมืองมะริด ชมฟาร์มกุ้งล็อปสเตอร์ 7 สี กุ้งมังกร กั้งทะเล บ่อพักกุ้งมังกร ฟาร์มปูนิ่ม ชิมอาหารทะเล แบบสดๆ เมืองมะริด ประเทศพม่า Myeik Myanmar

sunitjo travel พาเที่ยวเมืองมะริด ชมฟาร์มกุ้งล็อปสเตอร์ 7 สี กุ้งมังกร กั้งทะเล บ่อพักกุ้งมังกร ฟาร์มปูนิ่ม ชิมอาหารทะเล แบบสดๆ เมืองมะริด ประเทศพม่า Myeik Myanmar  098-0641749

เที่ยวแบบสะใจ กินสะใจ ไปแบบกันเอง พร้อมลุยทุกเส้นทาง กับการสำรวจเมือง มะริด ไข่มุกอันดามัน ที่ถูกค้นพบ โดยธรรมชาติ การเดินทางจากด่านสิงขร-ไปเมืองมะริด ไม่ใช่เรื่องยาก อีกต่อไปครับ โดยเฉพาะการเดินทางโดยรถยนต์ รถตู้โดยสาร ไปได้ตลอดทั้งปีครับ ถนนหนทางวิ่งได้แบบไปเรื่อยๆ ตามแบบพม่า ปลอดภัยไร้กังวล บัตรประชาชนใบเดียวเที่ยว เมืองมะริด ประเทศพม่าได้แล้ว บอกต่อๆกันด้วยนะครับ พม่าเปิดเมือง เปิดรับนักท่องเที่ยวชาวไทย ให้ไปเที่ยว ไปลงทุน ไปรับสินค้า อาหารทะเล มาขายฝั่งไทย รับประกัน โดน sunitjo เพราะไปสำรวจแบบเจาะลึกหรือไปกับทัวร์ ของ sunitjo travel 
รับรอง สนุกเร้าใจเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว ครบ เที่ยววัด ไหว้พระ เมืองมะริด ชมฟาร์มปูนิ่มของคนไทย ไปลงทุน หรือคอนโดปูดำ บ่อพัก กุ้งมังกร ตัวใหญ่ กุ้งล็อปสเตอร์ กั้งตั๊กแตน บ่อเต่าตนุตัวใหญ่
ชมอู่ต่อเรือ คานเรือ ซ่อมเรือ ตอกหมัน ทำสี เปลี่ยนไม้ ปะผุเรือขนาดใหญ่ ทันสมัยที่สุด ในพม่า



098-0641749

SUNITJO TRAVEL





























วันจันทร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2558

ทัวร์มะริด ท่องเที่ยวเมืองมะริด แบบมืออาชีพ sunitjo travel 098-0641749


ทัวร์มะริด ท่องเที่ยวเมืองมะริด แบบมืออาชีพ sunitjo travel   098-0641749

ประมาณ5ปีที่แล้ว ภาพเกาะที่มีหาดทรายขาวเรียงรายไปด้วยบ้านประมงที่สร้างอย่างเรียบง่ายหลังเล็กๆ เคียงคู่กับน้ำทะเลสีฟ้าและภูเขาน้อยๆ ด้านหลังที่แทรกเต็มไปด้วยต้นมะพร้าวสีเขียวสด กับตัวอักษรที่มีฟอนต์แนว Retro เขียนกำกับไว้สั้นๆ ว่า “มะริด หนึ่งมิตรผู้ชิดใกล้” บนหน้าปกหนังสือสาละวินโพสต์ เป็นภาพแรกที่ได้เห็นจากเมืองนี้ ดินแดนที่ตั้งใจอยากค้นหามากที่สุดแห่งหนึ่ง และกลายเป็นภาพติดตา ติดใจมาตลอด เมื่อนึกถึง “มะริด”

มะริด หนึ่งในสามจังหวัดของแคว้นตะนาวศรี มีชื่อเป็นทางการในภาษาพม่าว่า “Myeik” ซึ่งหากเทียบรูปอักษรพม่าในอักษรไทยแล้วจะเขียนว่า “มริด” เหมือนกัน มีที่มาของชื่อจาก ”หลักที่ใช้พันม้า” เมื่อกษัตริย์สยามมาถึงที่นี่ในยามรุ่งเช้า ในสมัยอาณานิคมอังกฤษเรียกเมืองนี้ว่า “Mergui” แต่ชาวมะริดกลับเรียกเมืองที่ตนอาศัยอยู่ว่า “Beik” ในภาษาท้องถิ่นแบบฉบับของตัวเอง

มะริด ชื่อเมืองที่คนไทยคุ้นหูเป็นอย่างดี หากจะวัดกันจากแผนที่แล้ว มะริดอยู่ในละติจูดที่ใกล้เคียงกับเมืองปราณบุรี ซึ่งห่างกันประมาณเพียง 150km เท่านั้น ใกล้ยิ่งกว่าระยะทางจากปราณบุรีมากรุงเทพเสียอีก แต่กลับดูเหมือนเมื่อนี้ช่างแสน...ห่างไกลกันมาก

ด้วยทำเลที่ตั้งของเมืองตั้งอยู่บนเกาะที่เกิดจากตะกอนของปากแม่น้ำตะนาวศรีหลวง และมีเกาะต่างๆ มากมายที่ตั้งอยู่ใกล้ ทั้งเกาะ Kadan (หรือเกาะ King) เกาะที่มีขนาดใหญ่ที่สุดใน 800 เกาะของกลุ่มหมู่เกาะมะริด รวมถึงเกาะ Pataw Padet เกาะเล็กๆ ฝั่งตรงข้ามมะริด เป็นที่ตั้งฟาร์มปูนิ่มของคนไทยและอู่ต่อเรือ รวมไปถึงพระนอนขนาดใหญ่จุดหมายตาของเรือเมื่อวิ่งแล่นเข้าสู่มะริดในทิศใต้ และพระยืนจุดหมายตาของเรือเมื่อวิ่งแล่นเข้าสู่มะริดในทิศเหนือเช่นกัน จึงกลายเป็นเกาะกำบังลมสมุทรได้เป็นอย่างดี ทำให้มะริดกลายเป็นเมืองท่านานาชาติที่สำคัญมาก ตั้งแต่อดีตจนปัจจุบัน ประกอบไปด้วยผู้คนหลากหลายเชื้อชาติอาศัยอยู่ร่วมกันมาเป็นเวลานานแล้ว ทั้ง พม่า มอญ ยะไข่ กะเหรี่ยง อังกฤษ ฝรั่งเศส โปรตุเกส ฮอลันดา อินเดีย อิหร่าน จีน จีนช่องแคบ ญี่ปุ่น มลายู และสยาม ที่นี่จึงมีวัดพุทธ วัดฮินดู ศาลเจ้าจีน มัสยิด โบสถ์คริสต์ มากมายภายในเมือง

อดีตมะริดมีฐานะเป็นนครรัฐอิสระร่วมสมัยเดียวกับเมืองทวาย ซึ่งเป็นกลุ่มชนเดียวกัน มีบันทึกโบราณตั้งแต่พ.ศ.735 เคยกล่าวว่า พระเจ้าพหิกราชา กษัตริย์แห่งตะนาวศรีทรงขอกำลังจากยะไข่มาช่วยทำสงครามกับสยาม (สมัยนั้นพื้นที่สยามอาจเป็นมอญทวารวดี แถบลุ่มน้ำเจ้าพระยาในปัจจุบันก็เป็นได้) ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นมิตรกับเมืองยะไข่ ในลักษณะเดียวกับเมืองทวายเช่นกัน ก่อนที่มะริดจะถูกผนวกรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรพุกาม จนถึงค.ศ.1287 สุโขทัยก็สามารถตีและยึดได้ มะริดจึงถูกปกครองโดยสยามต่อเนื่องมาจนถึงสมัยอยุธยา อาจมีบ้างที่ถูกพม่ายึดไปในช่วงระยะเวลาสั้นๆ จนกระทั่งถึงตกเป็นเมืองขึ้นของพม่าเมื่อค.ศ.1765 อย่างสิ้นเชิง ต่อเนื่องมาจนถึงค.ศ.1826 มะริดจึงตกเป็นเมืองอาณานิคมของอังกฤษ พร้อมกับทวายและแคว้นตะนาวศรี รวมๆ แล้วก็อาจอยู่ภายใต้การปกครองของสยามกว่า 400ปี

มะริดเป็นเมืองท่าที่เจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุดในสมัยแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช มีฐานะเป็นหนึ่งในสองเมืองท่าฝั่งอันดามันที่มีความสำคัญยิ่งของอยุธยา (อีกเมืองคือภูเก็ต) สยามเคยให้ชาวอังกฤษคือ Samuel White และคนถัดมาชาวฝรั่งเศสคือ Chevalier de Beauregard ปกครองเป็นเจ้าเมืองที่นี่ เนื่องจากสยามต้องการใช้มะริดเป็นเมืองท่าในการติดต่อกับเมือง Madras อินเดียและชาติตะวันตก ซึ่งตั้งอยู่ไม่ไกลกับเมืองตะนาวศรีที่อยุธยาสร้างขึ้นเองเพื่อสามารถใช้เป็นเส้นทางลำเลียงขนสินค้าไปยังอยุธยาได้ง่าย ไม่ต้องเสียเวลาอ้อมแหลมมลายูกับโจรสลัดที่ชุกชุม จนกระทั่งมะริดตกไปขึ้นกับพม่า จึงหมดความสำคัญลง เนื่องจากไม่ได้อยู่ในจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญของฝ่ายพม่าเทียบกับสมัยที่อยู่ใต้การปกครองของสยาม

ปัจจุบันยังมีหลักฐานจากยุครุ่งเรืองสมัยสยามปกครอง ให้เห็นได้มากมายในเมืองนี้ โดยเฉพาะพระพุทธรูปศิลปะแบบสยามเมืองมะริด ที่ลักษณะแตกต่างจากพระพุทธรูปพม่า จำแนกง่ายๆ คือพระพุทธรูปแบบสยามจะมีพระเมาลีแหลม ในขณะที่แบบพม่าจะไม่มีพระเมาลี ซึ่งสยามนิยมสร้างพระพุทธรูป ส่วนพม่านิยมสร้างเจดีย์ ซึ่งยังพบพระพุทธรูปศิลปะแบบสยามเมืองมะริดได้มากมาย ทั้ง พระลอยตามน้ำมาสองพี่น้อง องค์พี่ประดิษฐานอยู่ที่กุฏิวัดมัณฑะเลย์ องค์น้องประดิษฐานอยู่ที่วัด Wattaik kyuang (หรือเรียกว่าวัดไท) หรือรูปแบบการสร้างพระพุทธรูป 3 องค์เรียงกันในโบสถ์ มีพระพุทธรูปปางป่าเลไลย์อยู่ด้านหน้าสุด ปางสมาธิอยู่ตรงกลาง และปางไสยาสน์อยู่ด้านหลังสุด พบทั้งที่โบสถ์ วัด Laykywanhsimee Setitawkyee (หรือวัดพระธาตุเมืองมะริด) และวัด Taw Kyaung ซึ่งในระเบียงคตเองก็ยังเป็นพระพุทธรูปแบบสยามทั้งสิ้น หรือลักษณะปูนปั้นพญานาคที่ส่วนใหญ่เป็นลวดลายแบบสยาม โดยเฉพาะวัด Wattaik kyuang

ชาวมะริด มีความภาคภูมิใจในอัตลักษณ์ของตน ทั้งสำเนียงภาษาท้องถิ่นที่มีเอกลักษณ์ ซึ่งถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มเดียวกับภาษาพม่าสำเนียงทวาย แต่ทว่าก็มีความแตกต่างกันทั้งบางเสียงที่มีลักษณะเฉพาะ หรือคำศัพท์ที่แตกต่างกันออกไปมากมาย ภาษาพม่าสำเนียงมะริดใช้กันตั้งแต่แถบเมือง Palaw ซึ่งเป็นเมืองกึ่งกลางระหว่างทวายกับมะริดไปจนสุดแหลม Victoria Point ที่เกาะสอง นอกจากนี้แล้ว อาหารท้องถิ่นแบบฉบับของมะริดนั่น โดยเฉพาะ Kut kyae kaik หรือก๋วยเตี๋ยวผัด อันโด่งดังไปทั่วพม่า มีต้นกำเนิดที่มะริด ซึ่งสามารถหาทานได้ง่ายตามตรอกซอกซอยทั่วทุกหนแห่งในเมือง ที่สำคัญทั้งวิธีการปรุง รสชาติอาหาร เป็นแบบเดียวกับ Char Kway Teow อาหารท้องถิ่นแบบจีนช่องแคบ (จีนบาบ๋า) ที่มีชื่อเสียงของเกาะปีนังในปัจจุบัน ซึ่งอาหารนี่เองเป็นอัตลักษณ์เด่นของชาวจีนกลุ่มนี้ แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ในอดีตระหว่างปีนังกับมะริดมาอย่างยาวนาน และกลายเป็นชนกลุ่มหลักของมะริดนี้ ว่ากันว่ามีลูกหลานชาวจีนช่องแคบอาศัยอยู่มากกว่าประชากรกลุ่มพม่าแท้อีกด้วย ชาวจีนช่องแคบหรือที่ชาวพม่าเรียกว่า ชาว Pashu (บางทีครั้งอาจหมายถึงกลุ่มชาวมลายูก็ได้) ตั้งถิ่นฐานในพม่าตั้งแต่เมืองมะริด,ทวาย,มะละแหม่ง จนถึงย่างกุ้ง ซึ่งเป็นกลุ่มชาวจีนช่องแคบจากเกาะปีนังที่ขยายตัวขึ้นไปตอนบนในเขตอาณานิคมอังกฤษเดียวกัน ได้ตกทอดมรดกสู่ปัจจุบันคืออาหารนอกเหนือไปจากกลุ่มอาคารบ้านเรือนเจ้าสัวของชาวจีนช่องแคบที่ยังหลงเหลือรอดพ้นจากเหตุเพลิงไหม้ในมะริดหลายต่อหลายครั้ง

หากทวายเป็นความสงบงาม เรียบง่าย อ่อนหวาน น่าชวนมองแล้ว มะริดคงเป็นความคึกคัก เคลื่อนไหว มีสีสัน หลากหลาย ทว่ามีเสน่ห์ชวนค้นหาอย่างน่าหลงใหล

ความหลากหลายผู้คน ชนชาติ ศาสนา ที่ไม่ต่างไปจากเมืองท่าใหญ่ๆ ทั้งย่างกุ้ง ปีนัง อาเจะห์ สิงคโปร์ บางกอก โฮจิมินห์ มะนิลา จาการ์ตา กลับกลายเป็นเบ้าหลอมรวมวัฒนธรรมให้เมืองนี้มีอัตลักษณ์เป็นของตนเอง มีเสน่ห์ชวนค้นหาโดยเฉพาะความเป็นสยามที่ถูกเก็บซ่อนไว้ตามมุมต่างๆ ของเมือง รอคอยชาวสยามให้ได้มาค้นพบ ดั่งย้อนกาลกลับไปยังสมัยแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์ฯ อันรุ่งเรือง เหมือนดั่ง....หนึ่งมิตรที่เคยมากกว่าชิดใกล้



บัตรประชาชนใบเดียว เที่ยวพม่า เมืองมะริด ไข่มุกอันดามัน พม่าตอนล่าง sunitjo travel สุนิตโจทราเวล  098-0641749








sunitjo travel สุนิตโจ ทราเวลทัวร์

 098-0641749

บัตรประชาชนใบเดียว เที่ยวพม่า เมืองมะริด ไข่มุกอันดามัน พม่าตอนล่าง

รับจองทัวร์เมือง มะริด ด่านสิงขร  Myanmar เที่ยวแบบแบ็คเพคเกอร์ ลุย ด้วยรถตู้ 12 ที่นั่ง
แพคเกจทัวร์ พาเที่ยว เมืองมะริด ประเทศพม่า พร้อมที่พัก 2วัน1คืน 4200 บาท

แพคเกจทัวร์ พาเที่ยวเมือง มะริด ประเทศพม่า พร้อมที่พัก 3วัน2คืน6200 บาท

แพคเกจทัวร์ พาเที่ยวเมือง มะริด ประเทศพม่า พร้อมที่พัก4วัน3คืน 8200 บาท

ราคานี้รวมค่ารถตู้ พาเที่ยวตามโปรแกรม 

  ค่าที่พัก พักห้องละ 2 ท่าน พักเดี่ยวจ่ายเพิ่มวันละ 1500 บาท
 ไกท๋ชาวพม่าพูดไทยได้
ขึ้นรถที่บ้านมูด่อง หรือบริเวณชายแดนด่านสิงขร ไทย-พม่า

 หมายเหตุ*ลูกค้าทัวร์ต้องมี 12 คนขึ้นไป ถ้าไม่ถึงต้องเพื่มราคาต่อคนขึ้นไปอีก ตามการตกลงกัน

 หนังสือการเดินทางผ่านแดน ใช้บัตรประชาขน 1 ใบ เพื่อทำ border pass
ชำระค่าธรรมเนียม 30 บาทฝั่งไทย และจ่ายอีกครั้งที่ฝั่งพม่า ประมาณ 100 บาท

จองทัวร์โทร  098-0641749 รับเฉพาะคนไทยครับ

**หมายเหตุ** กรณีรวมค่าอาหาร จ่ายมื้อละ 300 บาท ต่อคน เฉพาะทานที่ร้านอาหาร  ร้านข้าวแกงระหว่างทาง มื้อละ 150 บาทต่อท่าน

sunitjo travel สุนิตโจทราเวล 


รับจองทัวร์เมือง มะริด ด่านสิงขร  Myanmar เที่ยวแบบแบ็คเพคเกอร์ เที่ยวตามใจคุณ แบบลุยๆ

ด้วยรถตู้ 12 ที่นั่ง


แพคเกจทัวร์ พาเที่ยว เมืองมะริด ประเทศพม่า พร้อมที่พัก 2วัน1คืน 4200 บาท


แพคเกจทัวร์ พาเที่ยวเมือง มะริด ประเทศพม่า พร้อมที่พัก 3วัน2คืน6200 บาท


แพคเกจทัวร์ พาเที่ยวเมือง มะริด ประเทศพม่า พร้อมที่พัก4วัน3คืน 8200 บาท


ราคานี้รวมค่ารถตู้ พาเที่ยวตามโปรแกรม 


 ** ค่าที่พัก พักห้องละ 2 ท่าน พักเดี่ยวจ่ายเพิ่มวันละ 1500 บาท**



 ไกท๋ชาวพม่าพูดไทยได้

ขึ้นรถที่บ้านมูด่อง หรือบริเวณชายแดนด่านสิงขร ไทย-พม่า

 หมายเหตุ*ลูกค้าทัวร์ต้องมี 12 คนขึ้นไป ถ้าไม่ถึงต้องเพื่มราคาต่อคนขึ้นไปอีก ตามการตกลงกัน

 หนังสือการเดินทางผ่านแดน ใช้บัตรประชาขน 1 ใบ เพื่อทำ border pass

ชำระค่าธรรมเนียม 30 บาทฝั่งไทย และจ่ายอีกครั้งที่ฝั่งพม่า ประมาณ 100 บาท

จองทัวร์โทร  098-0641749 รับเฉพาะคนไทยครับ


มะริด (พม่า: မြိတ်, ออกเสียง: [mjeɪʔ] มเยะ หรือ [beɪʔ] เบะ; มอญ: ဗိက်; อังกฤษ: Myeik) มีชื่อเดิมเป็นภาษาอังกฤษว่า เมอร์กุย (อังกฤษ: Mergui) เป็นเมืองหนึ่งในเขตตะนาวศรีประเทศพม่า ตั้งอยู่ทางตอนใต้บริเวณชายฝั่งทะเลอันดามัน จากผลสำรวจสำมะโนครัวประชากรมีประชากรราว 209,000 คน


อัตราค่าบริการ


ผู้ใหญ่ (พักห้องละ 2 ท่าน) ท่านละ 4200 บาท 1 คืน2วัน**6200 บาท 2คืน3วัน** 8200 บาท3คืน4วัน  ตามรายระเอียดจำนวนการจองกี่วัน 

ค่าบริการนี้รวม

1. ค่ารถตู้ปรับอากาศ นำเที่ยวตลอดรายการที่,มะริด

2. ค่าโรงแรมระดับมาตรฐาน 2 คืน (พักห้องละ 2 ท่าน) กรณีพักเดี่ยว ชำระเพิ่มท่านละ 1,500 บาท

3. ไม่มี อาหารบริการ *** ต้องทานเองทุกมื้อ เราบริการจุดจอดรถ ร้านอาหาร ******

4. ค่าดำเนินการเอกสารผ่านแดนทั้งฝั่งไทยและฝั่งพม่า ลูกค้าจ่ายเอง

5. ค่าน้ำดื่ม ขนม ผ้าปิดปากกันฝุ่นและผ้าเย็น ระหว่างการเดินทาง

6. ค่ามัคคุเทศก์ท้องถิ่น (ภาษาไทย)

7. ค่าประกันการเดินทางเป็นหมู่คณะ วงเงินประกันสองแสนบาท ตามเงื่อนไขกรมธรรม์

ค่าบริการนี้ไม่รวม

1. ค่าใช้จ่ายส่วนตัว เช่น ค่าโทรศัพท์ ค่าซักรีดในโรงแรม ค่ามินิบาร์ในโรงแรม

2. ค่าอาหารและเครื่องดื่มนอกเหนือจากรายการที่ระบุไว้

3. ค่าทิปไกด์และคนขับรถ


เงื่อนไขการจอง


1. จองการเดินทางล่วงหน้า 15 วัน

2. มัดจำ 50 เปอร์เซ็นต์  ในวันจองทัวร์ ส่วนที่เหลือชำระก่อนเดินทางอย่างน้อย 15 วัน


เอกสารที่ใช้ในการเดินทาง


1. บัตรประชาชนเพียงบัตรเดียวเท่านั้น

 2 มีที่จอดรถ หน้าด่าน สิงขร-บ้านมุด่อง

*** จำนวนลูกทัวร์ ต้องมีอย่างน้อย 10 คนขึ้นไป *** กรณไม่ครบ 12 ตน ราคาเฉลี่ยต่อหัวจะเพิ่มขึ้น ตามจำนวนลูกค้าที่มีอยู่จริง


ประมาณ5ปีที่แล้ว ภาพเกาะที่มีหาดทรายขาวเรียงรายไปด้วยบ้านประมงที่สร้างอย่างเรียบง่ายหลังเล็กๆ เคียงคู่กับน้ำทะเลสีฟ้าและภูเขาน้อยๆ ด้านหลังที่แทรกเต็มไปด้วยต้นมะพร้าวสีเขียวสด กับตัวอักษรที่มีฟอนต์แนว Retro เขียนกำกับไว้สั้นๆ ว่า “มะริด หนึ่งมิตรผู้ชิดใกล้” บนหน้าปกหนังสือสาละวินโพสต์ เป็นภาพแรกที่ได้เห็นจากเมืองนี้ ดินแดนที่ตั้งใจอยากค้นหามากที่สุดแห่งหนึ่ง และกลายเป็นภาพติดตา ติดใจมาตลอด เมื่อนึกถึง “มะริด”

มะริด หนึ่งในสามจังหวัดของแคว้นตะนาวศรี มีชื่อเป็นทางการในภาษาพม่าว่า “Myeik” ซึ่งหากเทียบรูปอักษรพม่าในอักษรไทยแล้วจะเขียนว่า “มริด” เหมือนกัน มีที่มาของชื่อจาก ”หลักที่ใช้พันม้า” เมื่อกษัตริย์สยามมาถึงที่นี่ในยามรุ่งเช้า ในสมัยอาณานิคมอังกฤษเรียกเมืองนี้ว่า “Mergui” แต่ชาวมะริดกลับเรียกเมืองที่ตนอาศัยอยู่ว่า “Beik” ในภาษาท้องถิ่นแบบฉบับของตัวเอง 

มะริด ชื่อเมืองที่คนไทยคุ้นหูเป็นอย่างดี หากจะวัดกันจากแผนที่แล้ว มะริดอยู่ในละติจูดที่ใกล้เคียงกับเมืองปราณบุรี ซึ่งห่างกันประมาณเพียง 150km เท่านั้น ใกล้ยิ่งกว่าระยะทางจากปราณบุรีมากรุงเทพเสียอีก แต่กลับดูเหมือนเมื่อนี้ช่างแสน...ห่างไกลกันมาก

ด้วยทำเลที่ตั้งของเมืองตั้งอยู่บนเกาะที่เกิดจากตะกอนของปากแม่น้ำตะนาวศรีหลวง และมีเกาะต่างๆ มากมายที่ตั้งอยู่ใกล้ ทั้งเกาะ Kadan (หรือเกาะ King) เกาะที่มีขนาดใหญ่ที่สุดใน 800 เกาะของกลุ่มหมู่เกาะมะริด รวมถึงเกาะ Pataw Padet เกาะเล็กๆ ฝั่งตรงข้ามมะริด เป็นที่ตั้งฟาร์มปูนิ่มของคนไทยและอู่ต่อเรือ รวมไปถึงพระนอนขนาดใหญ่จุดหมายตาของเรือเมื่อวิ่งแล่นเข้าสู่มะริดในทิศใต้ และพระยืนจุดหมายตาของเรือเมื่อวิ่งแล่นเข้าสู่มะริดในทิศเหนือเช่นกัน จึงกลายเป็นเกาะกำบังลมสมุทรได้เป็นอย่างดี ทำให้มะริดกลายเป็นเมืองท่านานาชาติที่สำคัญมาก ตั้งแต่อดีตจนปัจจุบัน ประกอบไปด้วยผู้คนหลากหลายเชื้อชาติอาศัยอยู่ร่วมกันมาเป็นเวลานานแล้ว ทั้ง พม่า มอญ ยะไข่ กะเหรี่ยง อังกฤษ ฝรั่งเศส โปรตุเกส ฮอลันดา อินเดีย อิหร่าน จีน จีนช่องแคบ ญี่ปุ่น มลายู และสยาม ที่นี่จึงมีวัดพุทธ วัดฮินดู ศาลเจ้าจีน มัสยิด โบสถ์คริสต์ มากมายภายในเมือง

อดีตมะริดมีฐานะเป็นนครรัฐอิสระร่วมสมัยเดียวกับเมืองทวาย ซึ่งเป็นกลุ่มชนเดียวกัน มีบันทึกโบราณตั้งแต่พ.ศ.735 เคยกล่าวว่า พระเจ้าพหิกราชา กษัตริย์แห่งตะนาวศรีทรงขอกำลังจากยะไข่มาช่วยทำสงครามกับสยาม (สมัยนั้นพื้นที่สยามอาจเป็นมอญทวารวดี แถบลุ่มน้ำเจ้าพระยาในปัจจุบันก็เป็นได้) ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นมิตรกับเมืองยะไข่ ในลักษณะเดียวกับเมืองทวายเช่นกัน ก่อนที่มะริดจะถูกผนวกรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรพุกาม จนถึงค.ศ.1287 สุโขทัยก็สามารถตีและยึดได้ มะริดจึงถูกปกครองโดยสยามต่อเนื่องมาจนถึงสมัยอยุธยา อาจมีบ้างที่ถูกพม่ายึดไปในช่วงระยะเวลาสั้นๆ จนกระทั่งถึงตกเป็นเมืองขึ้นของพม่าเมื่อค.ศ.1765 อย่างสิ้นเชิง ต่อเนื่องมาจนถึงค.ศ.1826 มะริดจึงตกเป็นเมืองอาณานิคมของอังกฤษ พร้อมกับทวายและแคว้นตะนาวศรี รวมๆ แล้วก็อาจอยู่ภายใต้การปกครองของสยามกว่า 400ปี 

มะริดเป็นเมืองท่าที่เจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุดในสมัยแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช มีฐานะเป็นหนึ่งในสองเมืองท่าฝั่งอันดามันที่มีความสำคัญยิ่งของอยุธยา (อีกเมืองคือภูเก็ต) สยามเคยให้ชาวอังกฤษคือ Samuel White และคนถัดมาชาวฝรั่งเศสคือ Chevalier de Beauregard ปกครองเป็นเจ้าเมืองที่นี่ เนื่องจากสยามต้องการใช้มะริดเป็นเมืองท่าในการติดต่อกับเมือง Madras อินเดียและชาติตะวันตก ซึ่งตั้งอยู่ไม่ไกลกับเมืองตะนาวศรีที่อยุธยาสร้างขึ้นเองเพื่อสามารถใช้เป็นเส้นทางลำเลียงขนสินค้าไปยังอยุธยาได้ง่าย ไม่ต้องเสียเวลาอ้อมแหลมมลายูกับโจรสลัดที่ชุกชุม จนกระทั่งมะริดตกไปขึ้นกับพม่า จึงหมดความสำคัญลง เนื่องจากไม่ได้อยู่ในจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญของฝ่ายพม่าเทียบกับสมัยที่อยู่ใต้การปกครองของสยาม

ปัจจุบันยังมีหลักฐานจากยุครุ่งเรืองสมัยสยามปกครอง ให้เห็นได้มากมายในเมืองนี้ โดยเฉพาะพระพุทธรูปศิลปะแบบสยามเมืองมะริด ที่ลักษณะแตกต่างจากพระพุทธรูปพม่า จำแนกง่ายๆ คือพระพุทธรูปแบบสยามจะมีพระเมาลีแหลม ในขณะที่แบบพม่าจะไม่มีพระเมาลี ซึ่งสยามนิยมสร้างพระพุทธรูป ส่วนพม่านิยมสร้างเจดีย์ ซึ่งยังพบพระพุทธรูปศิลปะแบบสยามเมืองมะริดได้มากมาย ทั้ง พระลอยตามน้ำมาสองพี่น้อง องค์พี่ประดิษฐานอยู่ที่กุฏิวัดมัณฑะเลย์ องค์น้องประดิษฐานอยู่ที่วัด Wattaik kyuang (หรือเรียกว่าวัดไท) หรือรูปแบบการสร้างพระพุทธรูป 3 องค์เรียงกันในโบสถ์ มีพระพุทธรูปปางป่าเลไลย์อยู่ด้านหน้าสุด ปางสมาธิอยู่ตรงกลาง และปางไสยาสน์อยู่ด้านหลังสุด พบทั้งที่โบสถ์ วัด Laykywanhsimee Setitawkyee (หรือวัดพระธาตุเมืองมะริด) และวัด Taw Kyaung ซึ่งในระเบียงคตเองก็ยังเป็นพระพุทธรูปแบบสยามทั้งสิ้น หรือลักษณะปูนปั้นพญานาคที่ส่วนใหญ่เป็นลวดลายแบบสยาม โดยเฉพาะวัด Wattaik kyuang

ชาวมะริด มีความภาคภูมิใจในอัตลักษณ์ของตน ทั้งสำเนียงภาษาท้องถิ่นที่มีเอกลักษณ์ ซึ่งถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มเดียวกับภาษาพม่าสำเนียงทวาย แต่ทว่าก็มีความแตกต่างกันทั้งบางเสียงที่มีลักษณะเฉพาะ หรือคำศัพท์ที่แตกต่างกันออกไปมากมาย ภาษาพม่าสำเนียงมะริดใช้กันตั้งแต่แถบเมือง Palaw ซึ่งเป็นเมืองกึ่งกลางระหว่างทวายกับมะริดไปจนสุดแหลม Victoria Point ที่เกาะสอง นอกจากนี้แล้ว อาหารท้องถิ่นแบบฉบับของมะริดนั่น โดยเฉพาะ Kut kyae kaik หรือก๋วยเตี๋ยวผัด อันโด่งดังไปทั่วพม่า มีต้นกำเนิดที่มะริด ซึ่งสามารถหาทานได้ง่ายตามตรอกซอกซอยทั่วทุกหนแห่งในเมือง ที่สำคัญทั้งวิธีการปรุง รสชาติอาหาร เป็นแบบเดียวกับ Char Kway Teow อาหารท้องถิ่นแบบจีนช่องแคบ (จีนบาบ๋า) ที่มีชื่อเสียงของเกาะปีนังในปัจจุบัน ซึ่งอาหารนี่เองเป็นอัตลักษณ์เด่นของชาวจีนกลุ่มนี้ แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ในอดีตระหว่างปีนังกับมะริดมาอย่างยาวนาน และกลายเป็นชนกลุ่มหลักของมะริดนี้ ว่ากันว่ามีลูกหลานชาวจีนช่องแคบอาศัยอยู่มากกว่าประชากรกลุ่มพม่าแท้อีกด้วย ชาวจีนช่องแคบหรือที่ชาวพม่าเรียกว่า ชาว Pashu (บางทีครั้งอาจหมายถึงกลุ่มชาวมลายูก็ได้) ตั้งถิ่นฐานในพม่าตั้งแต่เมืองมะริด,ทวาย,มะละแหม่ง จนถึงย่างกุ้ง ซึ่งเป็นกลุ่มชาวจีนช่องแคบจากเกาะปีนังที่ขยายตัวขึ้นไปตอนบนในเขตอาณานิคมอังกฤษเดียวกัน ได้ตกทอดมรดกสู่ปัจจุบันคืออาหารนอกเหนือไปจากกลุ่มอาคารบ้านเรือนเจ้าสัวของชาวจีนช่องแคบที่ยังหลงเหลือรอดพ้นจากเหตุเพลิงไหม้ในมะริดหลายต่อหลายครั้ง

หากทวายเป็นความสงบงาม เรียบง่าย อ่อนหวาน น่าชวนมองแล้ว มะริดคงเป็นความคึกคัก เคลื่อนไหว มีสีสัน หลากหลาย ทว่ามีเสน่ห์ชวนค้นหาอย่างน่าหลงใหล

ความหลากหลายผู้คน ชนชาติ ศาสนา ที่ไม่ต่างไปจากเมืองท่าใหญ่ๆ ทั้งย่างกุ้ง ปีนัง อาเจะห์ สิงคโปร์ บางกอก โฮจิมินห์ มะนิลา จาการ์ตา กลับกลายเป็นเบ้าหลอมรวมวัฒนธรรมให้เมืองนี้มีอัตลักษณ์เป็นของตนเอง มีเสน่ห์ชวนค้นหาโดยเฉพาะความเป็นสยามที่ถูกเก็บซ่อนไว้ตามมุมต่างๆ ของเมือง รอคอยชาวสยามให้ได้มาค้นพบ ดั่งย้อนกาลกลับไปยังสมัยแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์ฯ อันรุ่งเรือง เหมือนดั่ง....หนึ่งมิตรที่เคยมากกว่าชิดใกล้

วันศุกร์ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2558

sunitjo travel พาชมพระอาทิตย์ตกดิน เมืองมะริด ประเทศพม่า Myeik Myanmar





ประมาณ5ปีที่แล้ว ภาพเกาะที่มีหาดทรายขาวเรียงรายไปด้วยบ้านประมงที่สร้างอย่างเรียบง่ายหลังเล็กๆ เคียงคู่กับน้ำทะเลสีฟ้าและภูเขาน้อยๆ ด้านหลังที่แทรกเต็มไปด้วยต้นมะพร้าวสีเขียวสด กับตัวอักษรที่มีฟอนต์แนว Retro เขียนกำกับไว้สั้นๆ ว่า “มะริด หนึ่งมิตรผู้ชิดใกล้” บนหน้าปกหนังสือสาละวินโพสต์ เป็นภาพแรกที่ได้เห็นจากเมืองนี้ ดินแดนที่ตั้งใจอยากค้นหามากที่สุดแห่งหนึ่ง และกลายเป็นภาพติดตา ติดใจมาตลอด เมื่อนึกถึง “มะริด”

มะริด หนึ่งในสามจังหวัดของแคว้นตะนาวศรี มีชื่อเป็นทางการในภาษาพม่าว่า “Myeik” ซึ่งหากเทียบรูปอักษรพม่าในอักษรไทยแล้วจะเขียนว่า “มริด” เหมือนกัน มีที่มาของชื่อจาก ”หลักที่ใช้พันม้า” เมื่อกษัตริย์สยามมาถึงที่นี่ในยามรุ่งเช้า ในสมัยอาณานิคมอังกฤษเรียกเมืองนี้ว่า “Mergui” แต่ชาวมะริดกลับเรียกเมืองที่ตนอาศัยอยู่ว่า “Beik” ในภาษาท้องถิ่นแบบฉบับของตัวเอง

มะริด ชื่อเมืองที่คนไทยคุ้นหูเป็นอย่างดี หากจะวัดกันจากแผนที่แล้ว มะริดอยู่ในละติจูดที่ใกล้เคียงกับเมืองปราณบุรี ซึ่งห่างกันประมาณเพียง 150km เท่านั้น ใกล้ยิ่งกว่าระยะทางจากปราณบุรีมากรุงเทพเสียอีก แต่กลับดูเหมือนเมื่อนี้ช่างแสน...ห่างไกลกันมาก

ด้วยทำเลที่ตั้งของเมืองตั้งอยู่บนเกาะที่เกิดจากตะกอนของปากแม่น้ำตะนาวศรีหลวง และมีเกาะต่างๆ มากมายที่ตั้งอยู่ใกล้ ทั้งเกาะ Kadan (หรือเกาะ King) เกาะที่มีขนาดใหญ่ที่สุดใน 800 เกาะของกลุ่มหมู่เกาะมะริด รวมถึงเกาะ Pataw Padet เกาะเล็กๆ ฝั่งตรงข้ามมะริด เป็นที่ตั้งฟาร์มปูนิ่มของคนไทยและอู่ต่อเรือ รวมไปถึงพระนอนขนาดใหญ่จุดหมายตาของเรือเมื่อวิ่งแล่นเข้าสู่มะริดในทิศใต้ และพระยืนจุดหมายตาของเรือเมื่อวิ่งแล่นเข้าสู่มะริดในทิศเหนือเช่นกัน จึงกลายเป็นเกาะกำบังลมสมุทรได้เป็นอย่างดี ทำให้มะริดกลายเป็นเมืองท่านานาชาติที่สำคัญมาก ตั้งแต่อดีตจนปัจจุบัน ประกอบไปด้วยผู้คนหลากหลายเชื้อชาติอาศัยอยู่ร่วมกันมาเป็นเวลานานแล้ว ทั้ง พม่า มอญ ยะไข่ กะเหรี่ยง อังกฤษ ฝรั่งเศส โปรตุเกส ฮอลันดา อินเดีย อิหร่าน จีน จีนช่องแคบ ญี่ปุ่น มลายู และสยาม ที่นี่จึงมีวัดพุทธ วัดฮินดู ศาลเจ้าจีน มัสยิด โบสถ์คริสต์ มากมายภายในเมือง

อดีตมะริดมีฐานะเป็นนครรัฐอิสระร่วมสมัยเดียวกับเมืองทวาย ซึ่งเป็นกลุ่มชนเดียวกัน มีบันทึกโบราณตั้งแต่พ.ศ.735 เคยกล่าวว่า พระเจ้าพหิกราชา กษัตริย์แห่งตะนาวศรีทรงขอกำลังจากยะไข่มาช่วยทำสงครามกับสยาม (สมัยนั้นพื้นที่สยามอาจเป็นมอญทวารวดี แถบลุ่มน้ำเจ้าพระยาในปัจจุบันก็เป็นได้) ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นมิตรกับเมืองยะไข่ ในลักษณะเดียวกับเมืองทวายเช่นกัน ก่อนที่มะริดจะถูกผนวกรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรพุกาม จนถึงค.ศ.1287 สุโขทัยก็สามารถตีและยึดได้ มะริดจึงถูกปกครองโดยสยามต่อเนื่องมาจนถึงสมัยอยุธยา อาจมีบ้างที่ถูกพม่ายึดไปในช่วงระยะเวลาสั้นๆ จนกระทั่งถึงตกเป็นเมืองขึ้นของพม่าเมื่อค.ศ.1765 อย่างสิ้นเชิง ต่อเนื่องมาจนถึงค.ศ.1826 มะริดจึงตกเป็นเมืองอาณานิคมของอังกฤษ พร้อมกับทวายและแคว้นตะนาวศรี รวมๆ แล้วก็อาจอยู่ภายใต้การปกครองของสยามกว่า 400ปี

มะริดเป็นเมืองท่าที่เจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุดในสมัยแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช มีฐานะเป็นหนึ่งในสองเมืองท่าฝั่งอันดามันที่มีความสำคัญยิ่งของอยุธยา (อีกเมืองคือภูเก็ต) สยามเคยให้ชาวอังกฤษคือ Samuel White และคนถัดมาชาวฝรั่งเศสคือ Chevalier de Beauregard ปกครองเป็นเจ้าเมืองที่นี่ เนื่องจากสยามต้องการใช้มะริดเป็นเมืองท่าในการติดต่อกับเมือง Madras อินเดียและชาติตะวันตก ซึ่งตั้งอยู่ไม่ไกลกับเมืองตะนาวศรีที่อยุธยาสร้างขึ้นเองเพื่อสามารถใช้เป็นเส้นทางลำเลียงขนสินค้าไปยังอยุธยาได้ง่าย ไม่ต้องเสียเวลาอ้อมแหลมมลายูกับโจรสลัดที่ชุกชุม จนกระทั่งมะริดตกไปขึ้นกับพม่า จึงหมดความสำคัญลง เนื่องจากไม่ได้อยู่ในจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญของฝ่ายพม่าเทียบกับสมัยที่อยู่ใต้การปกครองของสยาม

ปัจจุบันยังมีหลักฐานจากยุครุ่งเรืองสมัยสยามปกครอง ให้เห็นได้มากมายในเมืองนี้ โดยเฉพาะพระพุทธรูปศิลปะแบบสยามเมืองมะริด ที่ลักษณะแตกต่างจากพระพุทธรูปพม่า จำแนกง่ายๆ คือพระพุทธรูปแบบสยามจะมีพระเมาลีแหลม ในขณะที่แบบพม่าจะไม่มีพระเมาลี ซึ่งสยามนิยมสร้างพระพุทธรูป ส่วนพม่านิยมสร้างเจดีย์ ซึ่งยังพบพระพุทธรูปศิลปะแบบสยามเมืองมะริดได้มากมาย ทั้ง พระลอยตามน้ำมาสองพี่น้อง องค์พี่ประดิษฐานอยู่ที่กุฏิวัดมัณฑะเลย์ องค์น้องประดิษฐานอยู่ที่วัด Wattaik kyuang (หรือเรียกว่าวัดไท) หรือรูปแบบการสร้างพระพุทธรูป 3 องค์เรียงกันในโบสถ์ มีพระพุทธรูปปางป่าเลไลย์อยู่ด้านหน้าสุด ปางสมาธิอยู่ตรงกลาง และปางไสยาสน์อยู่ด้านหลังสุด พบทั้งที่โบสถ์ วัด Laykywanhsimee Setitawkyee (หรือวัดพระธาตุเมืองมะริด) และวัด Taw Kyaung ซึ่งในระเบียงคตเองก็ยังเป็นพระพุทธรูปแบบสยามทั้งสิ้น หรือลักษณะปูนปั้นพญานาคที่ส่วนใหญ่เป็นลวดลายแบบสยาม โดยเฉพาะวัด Wattaik kyuang

ชาวมะริด มีความภาคภูมิใจในอัตลักษณ์ของตน ทั้งสำเนียงภาษาท้องถิ่นที่มีเอกลักษณ์ ซึ่งถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มเดียวกับภาษาพม่าสำเนียงทวาย แต่ทว่าก็มีความแตกต่างกันทั้งบางเสียงที่มีลักษณะเฉพาะ หรือคำศัพท์ที่แตกต่างกันออกไปมากมาย ภาษาพม่าสำเนียงมะริดใช้กันตั้งแต่แถบเมือง Palaw ซึ่งเป็นเมืองกึ่งกลางระหว่างทวายกับมะริดไปจนสุดแหลม Victoria Point ที่เกาะสอง นอกจากนี้แล้ว อาหารท้องถิ่นแบบฉบับของมะริดนั่น โดยเฉพาะ Kut kyae kaik หรือก๋วยเตี๋ยวผัด อันโด่งดังไปทั่วพม่า มีต้นกำเนิดที่มะริด ซึ่งสามารถหาทานได้ง่ายตามตรอกซอกซอยทั่วทุกหนแห่งในเมือง ที่สำคัญทั้งวิธีการปรุง รสชาติอาหาร เป็นแบบเดียวกับ Char Kway Teow อาหารท้องถิ่นแบบจีนช่องแคบ (จีนบาบ๋า) ที่มีชื่อเสียงของเกาะปีนังในปัจจุบัน ซึ่งอาหารนี่เองเป็นอัตลักษณ์เด่นของชาวจีนกลุ่มนี้ แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ในอดีตระหว่างปีนังกับมะริดมาอย่างยาวนาน และกลายเป็นชนกลุ่มหลักของมะริดนี้ ว่ากันว่ามีลูกหลานชาวจีนช่องแคบอาศัยอยู่มากกว่าประชากรกลุ่มพม่าแท้อีกด้วย ชาวจีนช่องแคบหรือที่ชาวพม่าเรียกว่า ชาว Pashu (บางทีครั้งอาจหมายถึงกลุ่มชาวมลายูก็ได้) ตั้งถิ่นฐานในพม่าตั้งแต่เมืองมะริด,ทวาย,มะละแหม่ง จนถึงย่างกุ้ง ซึ่งเป็นกลุ่มชาวจีนช่องแคบจากเกาะปีนังที่ขยายตัวขึ้นไปตอนบนในเขตอาณานิคมอังกฤษเดียวกัน ได้ตกทอดมรดกสู่ปัจจุบันคืออาหารนอกเหนือไปจากกลุ่มอาคารบ้านเรือนเจ้าสัวของชาวจีนช่องแคบที่ยังหลงเหลือรอดพ้นจากเหตุเพลิงไหม้ในมะริดหลายต่อหลายครั้ง

หากทวายเป็นความสงบงาม เรียบง่าย อ่อนหวาน น่าชวนมองแล้ว มะริดคงเป็นความคึกคัก เคลื่อนไหว มีสีสัน หลากหลาย ทว่ามีเสน่ห์ชวนค้นหาอย่างน่าหลงใหล

ความหลากหลายผู้คน ชนชาติ ศาสนา ที่ไม่ต่างไปจากเมืองท่าใหญ่ๆ ทั้งย่างกุ้ง ปีนัง อาเจะห์ สิงคโปร์ บางกอก โฮจิมินห์ มะนิลา จาการ์ตา กลับกลายเป็นเบ้าหลอมรวมวัฒนธรรมให้เมืองนี้มีอัตลักษณ์เป็นของตนเอง มีเสน่ห์ชวนค้นหาโดยเฉพาะความเป็นสยามที่ถูกเก็บซ่อนไว้ตามมุมต่างๆ ของเมือง รอคอยชาวสยามให้ได้มาค้นพบ ดั่งย้อนกาลกลับไปยังสมัยแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์ฯ อันรุ่งเรือง เหมือนดั่ง....หนึ่งมิตรที่เคยมากกว่าชิดใกล้